การปลูกข้าวที่เมือง Mwea ในจังหวัด Kinyaga ประเทศเคนยามีมาอย่างยาวนานหลายทศวรรษ โดยอาศัยน้ำจากตอนบนของอ่างเก็บน้ำ Tana และทำการเก็บเกี่ยวผลผลิตช่วงเดือนธันวาคมของทุกปั ดังที่ถือปฏิบัติมาโดยตลอด ข้าวที่ผลิตได้จากระบบการจัดการน้ำ Mwea Irigation Scheme นี้ คิดเป็นร้อยละ 84 ของผลผลิตข้าวทั้งหมดในเคนยา แต่ถึงกระนั้น ก็ยังต้องประสบกับปัญหาการผลิตที่ไม่เพียงพอต่อการบริโภคในประเทศ จากข้อมูลของกระทรวงเกษตรระบุว่า การบริโภคข้าวในประเทศเพิ่มขึ้นเกือบสองเท่าตัวจากเดิม 12 กิโลกรัมต่อคนต่อปีเมื่อปี 2551 เป็น 23 กิโลกรัมต่อคนต่อปี ดังนั้นแม้จะมีพื้นที่ปลูกข้าวขนาด 30,000 เอเคอร์ พร้อมการชลประทานและจากแหล่งเพาะปลูกอื่นๆ จากทั้งประเทศอย่างพื้นที่เกษตรกรรมในพื้นที่เขต Bura Aher และ Budalanei และเพื่อให้เพียงพอต่อความต้องการ เคนยาจึงจำเป็นที่ต้องนำเข้าข้าวอย่างหลีกเสี่ยงไม่ได้ซึ่งส่วนใหญ่เป็นการนำเข้าจากประเทศปากีสถาน แทนซาเนีย อินเดีย ยูกานตา และไทย
เคนยาจำเป็นต้องนำเข้าข้าวจำนวนมากเพื่อให้เพียงพอต่อการบริโภคในประเทศ โดยเคนยาต้องทุ่มเงินประมาณ 25 พันล้านเคนยาซิลสิ่ง (200 ล้านเหรียญสหรัฐ) ต่อปัในการนำเข้าข้าว ด้วยกำลังการผลิตที่น้อยกว่าความต้องการบริโภคดังกล่าวข้างต้น คาดว่าปีนี้เคนยาจะต้องนำเข้าข้าวจำนวน 640,000 เมตริกตัน เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค ทั้งนี้ เคนยาเองยังมีความหวังที่จะเพิ่มพื้นที่ปลูกข้าวภายใต้แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาข้าวแห่งชาติ พ.ศ. 2562 ถึง พ.ศ.2573 เพื่อสนองความต้องการในท้องถิ่นอย่างน้อยร้อยละ 80
โดยขยายพื้นที่เพาะปลูกใน Mwea ที่ทางรัฐบาลจะได้รับอนุญาตให้พัฒนาระบบชลประทานให้ครอบคลุมพพื้นที่อีกกว่า 10,000 เอเคอร์ ซึ่งอยู่นอกเหนือพื้นที่ที่ได้รับอนุญาตตามประกาศราชกิจจานุเบกษา และคาดการณ์ว่าการผลิตข้าวของประเทศเคนยาจะเพิ่มขึ้นเป็น 90,000 เมตริกตันในปี 2565 ต่อเนื่องจนถึงปี 2566 จากเดิม 80,000 เมตริกต้นในช่วงก่อนหน้านี้อันเนื่องมาจากการส่งน้ำจากเขื่อน Thiba ที่กำลังก่อสร้างและเมื่อแล้วเสร็จจะมีความจุ 15.6 ล้านลูกบาศก์เมตร
ในอดีตที่ผ่านมาระบบชลประทานของพื้นที่เพาะปลูกใน Mwea ได้รับน้ำจากแม่น้ำสองสายคือ Thiba river และ Nyamindi river โดยใช้ท่อรับน้ำที่ติดตั้งในปี พ.ศ. 2535 ซึ่งเพียงพอสำหรับพื้นที่เริ่มต้นจำนวน 5,000 เอเคอร์ แต่ด้วยการขยายตัวของพื้นที่ทำให้ขาดแคลนน้ำอย่างมากโดยเฉพาะฤดูการเพาะปลูกประกอบกับฤดูฝนที่เว้นช่วงไปอย่างยาวนานจึงนำมาซึ่งผลผลิตข้าวที่ลดลง แต่จากการที่รัฐบาลกำลังขยายระบบชลประทานให้ครอบคลุมพื้นที่มากขึ้นเป็น 35,000 เอเคอร์ต่อฤดูการผสิต (พื้นที่หนึ่งในสิบของ Kinyaga) รวมทั้งการปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐาน ถนนจากพื้นที่เพาะปลูก คลองขนาดเล็ก และการฟื้นฟูสิ่งอำนวยความสะดวกด้านการซลประทานอื่นๆ จะนำมาซึ่งระบบชลประทานที่ดี
นอกเหนือจากความพยายามตังกล่าวข้างต้นแล้ว เคนยายังด้รับความร่วมมือจากองค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศของญี่ปุ่น หรือ JACA ได้อัดฉีดเงินจำนวน 4.2 พันล้านเคนยาซิลสิ่ง (34 ล้านเหรียญสหรัฐ) คิดเป็นสัตส่วนครึ่งหนึ่งของส่วนขยายการเพาะปลูกในพื้นที่ Mutithi จากความพยายามร่วมกันนี้จะยกระดับการผลิตเพื่อตอบสนองค ความต้องการในประเทศของชา ชาวเคนยาจำนวนมากที่หันมาบริโภคข้าวมากกว่าการบริโภคผลิผลิตจากข้าวโพดแบบดั้งเติมอย่างอุกาลี (Ugal คืออาหารฟื้นเมืองแอฟริกันทำจากแป้งข้าวโพด) และข้าวอาจกลายมาเป็นธัญพืชที่มีการบริโภคมากที่สุตในประเทศต้อย่างไม่ยากในอนาคตอันใกล้นี้ อย่างไรก็ตี การจะให้ผลผลิตข้าวมีมากพอต่อความต้องการนั้นต้องใช้น้ำจำนวนมากเพื่อให้เพียงพอต่อการเพาะปลูก อีกทั้งยังจำเป็นต้องมีความร่วมมือกันในการปรับปรุงคุณภาพของเมล็ตพันธุ์ข้าว แนวทางการเพาะปลูกที่ถูกต้อง นำเครื่องมือเครื่องจักรเข้ามาใช้ในกระบวนการเพา:ปลูกให้มากขึ้น และการปรับปรุงคุณภาพติน เป็นที่มาของแนวทางการปรับฤดูกาลเพาะปลูกนำเสนอโตยคณะทำงานของ JACA นำมาซึ่งการฝึกอบรมให้กับเกษตร รผู้เพาะปลูก แนวทางการจัดการระบบน้ำ และการใช้เครื่องจักรในการเก็บเกี่ยวข้าวเปลือกทตแทนแรงงานทั้งหมด ซึ่งกล่าวกันว่าจะสมารถเพิ่มผลผลิตได้จำนวน 3 กระสอบต่อพื้นที่หนึ่งเอเคอร์ ในขณะที่เตียวกันระยะเวลาเก็บเกี่ยวก็จะลดลดจาก 14 วันทำการต่อหนึ่งเอเคอร์เหลือเพียง 45 นาที ด้วยเครื่องเกี่ยวนวดข้าวหนึ่งเครื่อง
ความเห็นของ สคต.
นโยบายของเคนยาที่จะเพิ่มพื้นที่ในการปลูกข้าวให้ไต้ตามที่ไต้แจ้งในข้างต้นนั้น ถือเป็นนโยบายที่มีผลกระทบด้านบวกและลบกับการส่งออกข้าวของไทยมาเคนยาโดยในเชิงบวกนั้น ไต้แก้ ความต้องการข้าวในปริมาณเพิ่มขึ้นนั้น ย่อมหมายถึง ตลาดข้าวที่มีขนาตใหญ่มากขึ้น และประเทศไทยซึ่งส่งออกข้าวมาเคนยากว่า 600 ล้านบาทในปี 2565 นั้น ก็จะมีตลาดมากขึ้นตามไปด้วย นอกจากนั้น การที่เคนยามีความจำเป็นต้องปลูกข้าวมากขึ้น ก็จะทำให้ความต้องการสินค้าเครื่องจักรทางการแกษตรนั้น จะมีมากขึ้นตามไปด้วย และไทยที่มีความเชี่ยวชาญในการปลูกข้าว หากผู้ประกอบการเครื่องจักรทางการเกษตรหรือสินค้าที่เกี่ยวข้องกับการปลูกข้าว สามารถเร่งขยายตลาตการส่งออกสินค้าตังกล่าวไต้ ประเทศไทยก็จะสามารถส่งออกสินค้าตังกล่าวมาได้เพิ่มขึ้นเช่นกัน
ในทางเชิงลบนั้น ประการแรก หลายประเทศในแอฟริกาพยายามจะเร่งพัฒนาการเพาะปลูกสินค้าอาหาร ซึ่งข้าวก็เป็นสินค้าหนึ่งที่ทุกๆประเทศเร่งการพัฒนา หากประเทศเคนยาสามารถเพิ่มพื้นที่ได้จริงและมีผลผลิตที่เพิ่มขึ้นตามที่มีนโยบายแล้ว การส่งออกข้าวมายังเคนยาก็ไทยก็จะทำไต้ปริมาณตลง ประการที่สอง หากเคนยา มีศกยภาพในการปลูกข้าวไต้มากจนสามารถส่งออกไต้แล้วนั้น เคนยาที่มีค่าแรงและต้นทุนถูกกว่าไทย ตลอดจนได้รับสิทธิประโยชน์ต้านภาษีนำเข้าที่ได้รับการยกเว้นในตลาตยุโรปหรือสหรัฐ ก็จะทำให้ในอนาคตไทยอาจมีคู่แข่งในการส่งออกข้าวเพิ่มขึ้น เพราะข้าวของเคนยามีคุณลักษณะคล้ำายคลึงกับข้าวขาวของไทย เวียตนาม กัมพูซาหรือพม่าที่เป็นข้าวพื้นนุ่ม
ตังนั้น ไทยควรเปลี่ยนมุมมองการส่งออกข้าวจากแฟริกา มาเริ่มมองแอฟริกาไนการอาจก้าวขึ้นมาเป็นคู่แข่งได้ในอนาคต มากคว่าที่จะเห็นเป็นเพียงตลาติในการส่งออก และวรหันมาสร้างตลาตในสินค้าใหม่ๆที่แปรรูปจากข้าวให้มากขึ้น เพื่อสร้างมูลคำเพิ่มของสินค้าที่อาจแข่งขันไต้น้อยลงในอนาคต
ผู้ส่งออกที่สนใช้อมูลเพิ่มเติมต่ำงๆ เกี่ยวประเทศเคนยา และประเทศในแอฟริกาตะวันออก ท่านสามารถติตต่อสอบถามไต้ที่ E-mail: ของสำนักงานฯ ที่ info@ocanairobi.co.ke
ที่มา : The East African